ข้อสอบปลายภาคเทอม 1
แบบทดสอบวัดผลปลายภาค
โรงเรียน............................................... อำเภอ.................................... จังหวัด.......................
รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา
๑.๐๐ ชั่วโมง
คำชี้แจง
๑. แบบทดสอบรายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๑.๐๐ ชั่วโมง
๒. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จำนวน ๖๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน
๓. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว และกาเครื่องหมายกากบาททับอักษร ก ข ค
หรือ ง ในกระดาษคำตอบ
๔. ห้ามขีดเขียนเครื่องหมายใด ๆ ในข้อสอบ เมื่อทำเสร็จแล้วให้นำส่งครูผู้กำกับห้องสอบ
๕. ตัวชี้วัดที่ออกข้อสอบ เครื่องหมายใด ๆ ในข้อสอบ เมื่อทำเสร็จแล้วให้นำส่งครูผู้กำกับห้องสอบ
๖. ตัวชี้วัดที่ออกข้อสอบ ข้อที่ ๒ จำนวน ๖ ข้อ คะแนน ๓ คะแนน
ข้อที่ ๑๖ จำนวน ๒๔ ข้อ คะแนน ๑๒ คะแนน
ข้อที่ ๑๗ จำนวน ๑๐ ข้อ คะแนน ๕ คะแนน
ข้อที่ ๒๐ จำนวน ๒๐ ข้อ คะแนน ๑๐ คะแนน
ตัวชี้วัดที่ ๒
การอ่านจับใจความสำคัญ
สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
๑. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการสร้างนิสัยที่ดีในการอ่าน
ก. ร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ข. จดบันทึกข้อความ
ข้อคิดที่มีประโยชน์
ค. รวบรวมสมาธิในการอ่าน
ง. อ่านทุกที่แม้ขณะนั่งรถ
๒. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
ก. เพื่อให้อ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธีและให้ เข้าใจเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง ข. เพื่อตะโกนอ่านออกเสียงดังชัดเจนและไม่ถือเป็น การรบกวนผู้อื่น ค. เพื่อให้รู้จักใช้น้ำเสียงบอกอารมณ์และความรู้สึกให้ สอดคล้องกับเนื้อหาของเรื่องที่อ่าน ง. เพื่อเป็นการรับสารและส่งสารวิธีหนึ่ง เพื่อให้ ผู้อ่านและผู้ฟังเกิดความเพลิดเพลิน
๓. เรื่อง พูดดี มีเสน่ห์ ให้ข้อคิดเห็นเรื่องใด
ก. การใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารในสังคม
ข. การกล้าแสดงความคิดเห็นและมีเสน่ห์ในการพูด
ค. การมีมารยาท
ง. การพูดเป็นสิ่งสำคัญ
|
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ ๔-๕
“การอบรมสั่งสอนลูกที่เคร่งครัดมากมายเกินไป ก็อาจเป็นผลร้ายได้เหมือนกัน เพราะฉะนั้นวิธีเลี้ยงลูกที่ดีก็ คือ
เดินตามทางสายกลาง อย่าให้ตึงหรือหย่อนเกินไป ควรเปิดโอกาสให้เด็กหรือลูกได้ใช้ความคิดได้ทดลอง ได้มีประสบการณ์ต่าง ๆ ได้รู้วิธีช่วยตัวเอง ได้ฝึกแก้ปัญหาของตัวเองให้มาก ส่วนที่จะควบคุมกันควรเป็นเรื่องกรอบของกฎหมายและศีลธรรมเท่านั้น การเสริมให้เขาได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ที่เขาพอใจให้มาก ย่อมดีกว่าการตั้งแต่ข้อห้าม หรือการให้ทำตามคำสั่งแต่ฝ่ายเดียว”
๔. ใจความสำคัญของข้อความที่อ่านคือข้อใด
ก.
การอบรมสั่งสอนเด็ก ๆ
ควรควบคุมเฉพาะกรอบแห่งกฎหมายและศีลธรรมเท่านั้น
ข.
การอบรมสั่งสอนเด็ก ๆ
ต้องมีความยืดหยุ่นและปลูกฝังในเรื่องของคุณธรรม
ค.
การดูแลบุตรหลานควรเดินสายกลางเพราะเด็กสมัยนี้มีอิสระทางความคิด
ง.
การปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กเป็นเรื่องสำคัญมากกว่าเรื่องอื่น ๆ
|
ข้อสอบปลายภาค ท ๒๒๑๐๑ หน้า ๒
๕. จากข้อความที่อ่านกล่าวถึงวิธีการอบรมบุตรที่ดีคือข้อใด
ก. สอนให้รู้จักตนเอง
ข. สอนให้มีประสบการณ์
ค.
สอนให้อยู่ในกรอบศีลธรรม
ง . อย่าบังคับและตามใจเกินไป
๖. เรื่อง
ลูกผู้ชาย...ตัวเกือบจริง ได้สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไว้ยกเว้นข้อใด
ก. การเคารพกฎระเบียบของโรงเรียนหรือของสังคม
ข.
ความประพฤติที่เหมาะสมของหญิงชายที่เป็น
สุภาพชน
ค.
ความเข้มแข็งและไม่ยอมแพ้
ง.
ศักดิ์ศรีของความเป็นลูกผู้ชาย
ตัวชี้วัดที่ ๑๖ คำและหน้าที่ของคำ การสร้างคำในภาษาไทย
๗. ข้อใดไม่ใช่หลักของภาษาบาลี
ก. พยัญชนะภาษาบาลีมี ๓๓ รูป ไม่มี ศ ษ ข. สระบาลีมี ๘ เสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ค. ไม่มีคำควบกล้ำ ง. ตัวสะกดตัวตามไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวแน่นอน
๘. ลักษณะคำไทยที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีหลักสังเกตยกเว้นข้อใด
ก.
มักเป็นคำพยางค์เดียว
เช่น แม่ เศิก เศร้า ฆ้อง ฯลฯ
ข.
ตัวสะกดมักไม่ตรงตามมาตรา
เช่น เทวัญ เนตร ฯลฯ
ค.
นิยมมีตัวการันต์
เช่น กาญจน์ เกณฑ์ อาทิตย์ ฯลฯ
ง.
ประสมด้วยพยัญชนะ
ฆ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ภ ศ ษ ฤ ฤๅ เช่น พยัคฆ์ อัชฌาสัย กฎ ปรากฏ สัณฐาน ฯลฯ
๙. ประโยคในข้อใดไม่มีคำบาลีสันสกฤตอยู่เลย
ก. แก้วคิดถึงแม่ของเธอมาก
ข.
สไปร์ทมีปัญหาด้านการเงินกับห้องพัสดุ
ค. มนุษย์เป็นสัตว์สังคม
ง. งานกีฬาสีปีนี้จัดยิ่งใหญ่อลังการมาก
๑๐. คำใดต่อไปนี้เป็นคำภาษาสันสกฤตทุกคำ
ก. กติกา ญาติ
ราชินี
ข.
กรรม บัญญัติ ศานติ
ค.
ทฤษฎี บัลลังก์ มัศยา
ง. สังเคราะห์ วิเคราะห์
สร้างสรรค์
|
๑๑.
คำในข้อใดยืมมาจากภาษาบาลีทุกคำ
ก.
สัตย์ คิมหันต์ ดารา
ข.
เศวต อิทธิ ศานติ
ค. กัลป์ วิทยุ วิชา
ง. สันติ บุปผา
สัจ
๑๒. ข้อใดต่อไปนี้เป็นคำภาษาสันสฤต
–ภาษาบาลี-ภาษาบาลี
ก. มัศยา วิญญาณ
สมถะ
ข.
กิเลส มฤตยู วนิพก
ค.
พิสดาร
พิศดร เมตตา
ง.
สันติ สันโดษ จรรยา
๑๓. ข้อใดเป็นลักษณะของคำสมาส
ก.
คำไทยประสมกันตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป
ข.
คำประสมที่มาจากภาษาบาลีและคำไทย
ค.
คำประสมที่มาจากคำภาษาบาลีกับคำอื่น
ง.
คำที่ประสมคำภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต
๑๔.
ข้อใดอธิบายลักษณะของคำสนธิได้ถูกต้อง
ก.
การนำคำมูลมาเชื่อมกัน
ข.
การนำคำภาษาต่างประเทศมาเชื่อมกัน
ค.
การนำคำไทยมาเชื่อมคำบาลีและสันสกฤต
ง.
การนำคำภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาเชื่อมกัน
๑๕. ภาษาใดมีมาตราตัวสะกดและเป็นภาษาคำโดด
ก.
ภาษาไทย
ข.
ภาษาเขมร
ค.
ภาษาบาลี
ง.
ภาษาสันสกฤต
๑๖.
ข้อใดจับคู่คำภาษาบาลี-สันสกฤตได้ถูกต้อง
ก.
กรีฑา – ภัตตา
ข.
บุคคล – เกษียณ
ค.
เกษตร – กษัย
ง.
ปฐม – ปัญหา
๑๗.
ข้อใดจับคู่คำภาษาสันสกฤต-บาลีได้ถูกต้อง
ก.
พิศดาร – กิริยา
ข.
มหัศจรรย์– วรรค
ค.
วรรณะ – กษัย
ง.
วัสดุ – ปัญหา
|
|||||||||||
ข้อสอบปลายภาค ท ๒๒๑๐๑ หน้า ๓
ข้อสอบปลายภาค ท ๒๒๑๐๑ หน้า ๔
ข้อสอบปลายภาค ท ๒๒๑๐๑ หน้า ๕
ข้อสอบปลายภาค ท ๒๒๑๐๑ หน้า ๖
ข้อสอบปลายภาค ท
๒๒๑๐๑ หน้า ๗
😃😎😏😏😏😏
|
เฉลยข้อสอบ
|
๑.
|
ง
|
๑๑.
|
ง
|
๒๑.
|
ก
|
๓๑
|
ง
|
๔๑
|
ก
|
๕๑
|
ค
|
๒.
|
ข
|
๑๒.
|
ก
|
๒๒.
|
ข
|
๓๒
|
ข
|
๔๒
|
ก
|
๕๒
|
ค
|
๓.
|
ง
|
๑๓.
|
ง
|
๒๓.
|
ก
|
๓๓
|
ก
|
๔๓
|
ค
|
๕๓
|
ก
|
๔.
|
ข
|
๑๔.
|
ง
|
๒๔.
|
ก
|
๓๔
|
ค
|
๔๔
|
ข
|
๕๔
|
ค
|
๕.
|
ง
|
๑๕.
|
ก
|
๒๕.
|
ง
|
๓๕
|
ค
|
๔๕
|
ข
|
๕๕
|
ง
|
๖.
|
ค
|
๑๖.
|
ข
|
๒๖.
|
ค
|
๓๖
|
ค
|
๔๖
|
ก
|
๕๖
|
ค
|
๗.
|
ค
|
๑๗.
|
ก
|
๒๗.
|
ง
|
๓๗
|
ค
|
๔๗
|
ค
|
๕๗
|
ง
|
๘.
|
ก
|
๑๘.
|
ข
|
๒๘.
|
ข
|
๓๘
|
ค
|
๔๘
|
ง
|
๕๘
|
ข
|
๙.
|
ก
|
๑๙.
|
ง
|
๒๙.
|
ก
|
๓๙
|
ข
|
๔๙
|
ค
|
๕๙
|
ข
|
๑๐.
|
ง
|
๒๐.
|
ค
|
๓๐.
|
ค
|
๔๐
|
ง
|
๕๐
|
ข
|
๖๐
|
ก
|
**********************************************************************************************************
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น